≤≤ ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 142
คำพิพากษาหรือคำสั่งของศาล
ที่ชี้ขาดคดีต้องตัดสินตามข้อหาในคำฟ้องทุกข้อ
แต่ห้ามมิให้พิพากษาหรือทำคำสั่งให้สิ่งใด ๆ
เกินไปกว่าหรือนอกจากที่ปรากฏในคำฟ้อง
อ่านต่อ.....
≤≤ เรื่องสิทธิเลิกจ้างของนายจ้าง
ตามมาตรา 119 (5) แห่ง พ.ร.บ.คุ้มครองแรงงานฯ
กล่าวถึง กรณีการจ่ายค่าชดเชยกรณีนายจ้างย้ายสถานที่ทำงานมีบัญญัติอยู่ใน
พ.ร.บ.
คุ้มครองแรงงานฯ มาตรา 120
เป็นกฎหมายที่ออกมาเพื่อคุ้มครองลูกจ้างที่นายจ้าง
ย้ายที่ทำงานจากที่เดิมที่เคยทำงานไปอยู่ในที่ทำงานที่ใหม่
และห่างไกลจากที่เดิม
มากจนลูกจ้างตามไปทำงานให้ด้วยไม่ได้ ซึ่งมีส่วนประกอบดังนี้...อ่านต่อ.......
≤≤ การที่จะนำประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1350
มาใช้บังคับได้
ต้องเป็นกรณีที่ที่ดินแปลงเดิมมีทางออกสู่ทางสาธารณะอยู่แล้ว
เมื่อแบ่งแยกหรือ
แบ่งโอนกันเป็นเหตุให้แปลงหนึ่งไม่มีทางออกไปสู่ทางสาธารณะ
เจ้าของที่ดินแปลงนั้น
มีสิทธิเรียกร้องเอาทางเดิน ตามมาตรา 1349 ได้
โดยไม่ต้องเสียค่าทดแทน
อ่านต่อ.....
≤≤ หากที่ดินที่จำนองมีราคาเพียงพอที่จะบังคับชำระหนี้ตามคำพิพากษาได้อยู่แล้ว
โดยไม่จำต้องยึดทรัพย์สินของลูกหนี้อื่น
โจทก์ก็ไม่อาจยึดสิ่งปลูกสร้างเพื่อขายทอดตลาด
ได้ เพราะจะเป็นกรณีที่โจทก์ยึดทรัพย์สินของลูกหนี้ตามคำพิพากษาเกินกว่าที่พอจะชำระหนี้
ให้แก่เจ้าหนี้ตามคำพิพากษา เป็นการฝ่าฝืน ป.วิ.พ. มาตรา
284 วรรคหนึ่ง
อ่านต่อ.....
≤≤ การที่จำเลยซึ่งเป็นเจ้าพนักงาน
แม้จะเป็นเพียงผู้สนับสนุนให้ความช่วยเหลือโดย
ลงลายมือชื่อรับรองอันเป็นเท็จในด้านหลังของคำขอมีบัตร
มีบัตรใหม่หรือเปลี่ยนบัตรประจำตัว
ประชาชนว่า จ. คือ บ.
การกระทำของจำเลยดังกล่าวมาศาลต้องลงโทษตามพระราชบัญญัติ
บัตรประจำตัวประชาชน พ.ศ. 2526 มาตรา 14 วรรคสาม ที่บัญญัติไว้โดยเฉพาะ
มิใช่ลงโทษ
เพียงฐานเป็นผู้สนับสนุนความผิดตามพระราชบัญญัติบัตรประจำตัวประชาชน
พ.ศ.2526 มาตรา
14 (1) (3) วรรคหนึ่ง ประกอบประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 86
..... อ่านต่อ.....