≤≤ หมายเหตุท้ายคำพิพากษาเกี่ยวกับเรื่องริบทรัพย์สิน ตาม ป.อ. มาตรา ๓๒, ๓๓ และตามกฎหมายอื่น
                    ผู้หมายเหตุ - อ.
สุรสิทธิ์ แสงวิโรจนพัฒน์, อ.อาคม รุ่งแจ้ง, อ.ศิริชัย วัฒนโยธิน อ่านต่อ...
 

                            ≤≤ ผู้ที่จะมีสิทธิออกใบกำกับภาษีได้นอกจากต้องเป็นผู้ประกอบการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มแล้ว
                    ยังต้องปรากฏด้วยว่าผู้ประกอบการนั้นได้ขายสินค้าหรือบริการ และได้รับชำระราคาสินค้าหรือบริการนั้น อ่านต่อ....

                            ≤≤ ผู้รับจำนองสามารถบังคับจำนองได้ไม่ว่าหนี้ที่ประกันขาดอายุความแล้ว หรือไม่ก็ตาม แต่ห้ามมิให้บังคับ
                    เอาดอกเบี้ยที่ค้างชำระในการจำนองเกินกว่าห้าปี อ่านต่อ....

                            ≤≤ หลักว่าด้วยภาระการพิสูจน์ในการนำสืบพยานตาม ป.วิ.พ. มาตรา 84/1 อ่านต่อ....

                            ≤≤ กรณีบุคคลใดจะใช้สิทธิทางศาลโดยเสนอเป็นคดีไม่มีข้อพิพาทตาม ป.วิ.พ.มาตรา 55 และมาตรา 188 (1)
                    ได้นั้น จะต้องมีกฎหมายสารบัญญัติสนับสนุนหรือรับรองว่าเป็นกรณีจำเป็นต้องร้องขอต่อศาลเพื่อรับรองหรือคุ้มครอง
                    สิทธิของตนที่มีอยู่ อ่านต่อ....

                             ≤≤ ตาม พ.ร.บ. ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ฯ มาตรา 5 วรรคหนึ่ง เจ้าหน้าที่ผู้กระทำการตามหน้าที่ที่ได้
                     รับมอบหมาย ย่อมได้รับความคุ้มครองไม่ถูกฟ้องคดี การฟ้องคดีดังกล่าวต้องฟ้องต่อหน่วยงานของรัฐที่เจ้าหน้าที่ฯ
                     ผู้นั้นสังกัดอยู่ อ่านต่อ....

                              ≤≤ ห้ามนายจ้างกระทำการอย่างใดอย่างหนึ่งต่อไปนี้ ต่อกรรมการลูกจ้างก่อนได้รับอนุญาตจากศาล คือ
                                  1. การเลิกจ้าง
                                  2. การลดค่าจ้าง
                                  3. การลงโทษ
                                  4. การขัดขวางการปฏิบัติหน้าที่ของลูกจ้าง
                                  5. การกระทำใดๆ อันอาจเป็นผลให้ลูกจ้างไม่สามารถทำงานอยู่ต่อไปได้   อ่านต่อ.....

                            ≤≤ ตามคำพิพากษาศาลฎีกาที่ผู้เขียนหมายเหตุนี้ขยายความการเลิกจ้างในกรณีแรกว่าหากกรณีนายจ้าง
                      ดำเนินกิจการอยู่จะต้องมีพฤติการณ์ที่แสดงว่า นายจ้างไม่ให้ลูกจ้างทำงานและไม่จ่ายค่าจ้างจึงเป็นการเลิกจ้าง
                      ตาม พ.ร.บ.คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตรา 118 วรรคสอง
:  หมายเหตุโดย อ.นวชาติ ยมะสมิต  อ่านต่อ....

            ≤≤ การเริ่มนับโทษจำคุก เป็นกระบวนการบังคับโทษทางอาญาซึ่งกฎหมายให้เริ่มแต่วันมีคำพิพากษา เว้นแต่
                      คำพิพากษาจะกล่าวเป็นอย่างอื่น (ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 22) การขอให้นับโทษต่อจากคดีอื่น จึงเป็นการขอ
                      ให้ศาลมีคำพิพากษากล่าวเป็นอย่างอื่นเกี่ยวกับการเริ่มนับโทษจำคุก ซึ่งการขอให้นับโทษต่อมีหลักเกณฑ์ ดังต่อไปนี้
                                 อ่านต่อ....
 

                                                                                                    อ่านหน้าถัดไป